ควบคุมการติดดับ LED 1 ตัวด้วยวิธี Chat
การสื่อสารภายในกลุ่มเป็นการรับส่งข้อความไปมาหากันซึ่งเป็นข้อความอะไรก็ได้ ขึ้นอยู่กับผู้พัฒนาจะออกแบบ แต่จะต้องเป็นที่เข้าใจระหว่างกัน เช่น ข้อความว่าคำว่า ON ผู้พัฒนาเป็นผู้กำหนดให้หมายถึงสิ่งใดในอุปกรณ์ในกลุ่ม โดยลักษณะการส่งข้อความแบ่งตามจุดหมายปลายทางแบ่งได้สองแบบ คือ
1. ข้อความที่ส่งแบบเจาะจงผู้รับ การส่งลักษณะนี้จะใช้ฟังก์ชั่น microgear.chat()
2. ข้อความที่ส่งแบบไม่เจาะจง่ผู้รับ แต่ส่งเข้าหาสิ่งที่เรียกว่า topic การส่งลักษณะนี้จะใช้ฟังก์ชั่น microgear.publish()
งานครั้งนี้เป็นการทดลองการส่งข้อความแบบเจาะจงผู้รับคือการ chat
คุณสมบัติของการ Chat คือการส่งข้อความโดยระบุผู้รับมีลักษณะดังนี้
1. เมื่อผู้รับออนไลน์อยู่แล้วผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับจะได้รับข้อความนั้น
2. เมื่อผู้รับออฟไลน์ (ออกจากระบบ)ผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับจะไม่ได้รับข้อความนั้น
3. เมื่อผู้รับออนไลน์และใช้ชื่อเดียวกัน ผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับที่ชื่อเดียวกันจะได้รับข้อความนั้น
คำเตือน: ความถี่ในการส่งข้อความขึ้น NETPIE กำหนดส่งได้ไม่เกิน 4 ครั้งใน 1 วินาที หากผู้ใช้งานส่งเกินข้อความครั้งที่ส่งเกิน NETPIE จะไม่รับข้อความที่เกินนั้น ๆ (เรียกว่าติดลิมิต)
คอนเซ็ปต์หลักของงาน
บอร์ดรับข้อความจาก FreeBoard NETPIE มาควบคุมการติดดับของ LED และให้บอร์ดส่งสถานะของ LED ไปแสดงบน FreeBoard
[ขั้นตอนการดำเนินการ]
-สร้าง Application ID
-สร้าง Device Key สำหรับใช้กับบอร์ดทดลอง
-สร้าง Session Key สำหรับใช้กับ FreeBoard
-เขียนโค้ดเพื่อใช้งาน
-ออกแบบ FreeBoard
ซึ่งรายละเอียดเป็นดังนี้
วงจรที่ใช้ทดลอง ทั้งที่เป็นบอร์ด NodeMCU และ WeMOS D1 mini ที่ใช้งานเชื่อมต่อเดิมในงานนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น
ส่วนของการดำเนินการ NETPIE
1. เริ่มต้นการใช้งานโดยเข้าไปที่ https://netpie.io/ (หากยังไม่สมัครให้ดำเนินการ)
(1) ล็อกอิน
(2) คลิกที่ APPLICATIONS
2. คลิกสร้าง Application คลิกที่ตำแหน่งดังรูป
3. ใส่รายละเอียดของ Application
(1) ตั้งชื่อ Application (ชื่อที่ไม่ซ้ำกับใคร ๆ)
(2) คลิก CREATE
4. สร้าง Application Key คลิกที่ตำแหน่งดังรูป
5. สร้าง Application Key (Device Key)
(1) ตั้งชื่อ
(2) เลือกชนิด (เลือกเป็น Device Key)
(3) คลิก CREATE
6. สร้าง Application Key (Session Key)
(1) ตั้งชื่อ
(2) เลือกชนิด (เลือกเป็น Session Key)
(3) คลิก CREATE
7. คลิกที่ชื่อ Application Device
8. คลิกที่ (1) เพื่อดูรหัส นำรหัสที่ปรากฏไปใช้ในโค้ดโปรแกรม
ส่วนจัดการโค้ด
9. ติดตั้งไลบรารี่ใช้งาน NETPIE ดำเนินการดังรูป
10. พิมพ์ในช่องค้นหาว่า microgear
11. แก้ไขรายละเอียดของโปรแกรม
(1) นำค่าจากขั้นตอน 3,8 มาใส่ในโค้ด
(2) กำหนดชื่อของบอร์ด
(3) กำหนดชื่อเป้าหมายที่ต้องการสื่อสาร
โค้ดโปรแกรม
ส่วนจัดการ FreeBoard
12. คลิกเลือก FREEBOARDS ดังรูป
13. คลิกสร้าง FreeBoard ดังรูป
12. ตั้งชื่อ FreeBoard (ชื่อต้องไม่ซ้ำใคร)
13. คลิกที่ชื่อ FreeBoard
14. คลิกที่รูปประแจ
15. คลิก ADD (Data Source)
16. เลือก NETPIE Microgear
17. เปิดหน้า Application ทำการคลิกที่ Session key เพื่อดูรหัส
18. ใส่รายละเอียด
(1) ตั้งชื่อ Data Source
(2) ใส่ Key ต่าง ๆ จากข้อ 17
สร้างปุ่มกดเปิด/ปิดแบบ Toggle
19. เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อตัวเลขเวลาจะเดิน ทำการคลิก ADD PANE
20. คลิกที่รูปบวก
21. เลือก Toggle
22. คลิกที่ Data Source จะปรากฏรายการชื่อให้เลือกชื่อที่ตรงกับ Data Source ที่ใช้งานปัจจุบันหน้านี้
23. คลิกต่อ ให้สังเกตุรายการ Target ที่ปรากฏ โดยชื่อ Target จะขึ้นได้เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อแล้ว(ตัวเลขนาฬิกาเดิน) แล้วคลิกที่ JS EDITOR
24. เพื่อคำสั่งตัดคำเพื่อตรวจสอบต่อท้ายเป็น .split(",")[0]=='CH1ON' เนื่องจากบอร์ดส่งข้อความนี้ขึ้นมาเมื่อ LED ติดสว่าง
CH1ON คือข้อความที่บอร์ดส่งขึ้นมายัง NETPIE ซึ่งผู้ใช้งานสามารถใช้ข้อความอื่นได้ตามต้องการ
25. รายละเอียดที่มาของค่าต่าง ๆ
26. ใส่คำสั่งเมื่อสวิตช์อยู่ในสถานะ ON และ OFF โดย DataSource ที่ชื่อว่า FreeBoard1 ส่งข้อความว่า CH1ON ไปยัง Board1 รูปแบบ
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1ON")
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1OFF")
CH1ON,CH1OFF เป็นข้อความที่ FreeBoard ส่งไปยังบอร์ดโดยที่ตัวบอร์ดต้องเขียนโค้ดตรวจสอบคำนี้เพื่อใช้ควบคุมงาน ผู้ใช้งานสามารถใช้ข้อความอื่น ๆ ได้ตามความต้องการ
27. รายละเอียดของปุ่ม ON
28. ผลจะได้ ลองทดสอบโดยการคลิก สังเกตผลที่เกิดขึ้นที่บอร์ด
29. เมื่อคลิก OFF
สร้างหลอดแสดงผล
30. คลิกตามลำดับ
31. เลือกดังรูป
32. คลิกที่ Data Source จะปรากฏรายการชื่อให้เลือกชื่อที่ตรงกับ Data Source ที่ใช้งานปัจจุบันหน้าน
33. คลิกต่อ ให้สังเกตุรายการ Target ที่ปรากฏ โดยชื่อ Target จะขึ้นได้เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อแล้ว(ตัวเลขนาฬิกาเดิน)
34. คลิกที่ JS EDITOR
35. เพื่อคำสั่งตัดคำเพื่อตรวจสอบต่อท้ายเป็น .split(",")[0]=='CH1ON' เนื่องจากบอร์ดส่งข้อความนี้ขึ้นมาเมื่อ LED ติดสว่าง
36. ผลจะได้ ลองทดสอบโดยการคลิกสวิตช์สังเกตผลที่เกิดขึ้นที่บอร์ดและที่หลอดไฟที่สร้างขึ้น
สร้างสวิตช์กด
37. คลิก ADD PANE
38. เลือก Button
39. ใส่รายละเอียด สวิตช์ ON
(1) ข้อความแสดงบนตัวสวิตช์
(2) เลือกสี
(3) ใส่คำสั่งเมื่อปุ่มถูกกด
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1ON")
40. เฟิ่มสวิตช์
41. ใส่รายละเอียดเช่นเดียวกับข้อ 39 เพียงแต่เป็นสวิตช์ OFF
42. เมื่อสร้างเสร็จ
43. ทดสอบการทำงาน พร้อมดูผลที่บอร์ด
การสื่อสารภายในกลุ่มเป็นการรับส่งข้อความไปมาหากันซึ่งเป็นข้อความอะไรก็ได้ ขึ้นอยู่กับผู้พัฒนาจะออกแบบ แต่จะต้องเป็นที่เข้าใจระหว่างกัน เช่น ข้อความว่าคำว่า ON ผู้พัฒนาเป็นผู้กำหนดให้หมายถึงสิ่งใดในอุปกรณ์ในกลุ่ม โดยลักษณะการส่งข้อความแบ่งตามจุดหมายปลายทางแบ่งได้สองแบบ คือ
1. ข้อความที่ส่งแบบเจาะจงผู้รับ การส่งลักษณะนี้จะใช้ฟังก์ชั่น microgear.chat()
2. ข้อความที่ส่งแบบไม่เจาะจง่ผู้รับ แต่ส่งเข้าหาสิ่งที่เรียกว่า topic การส่งลักษณะนี้จะใช้ฟังก์ชั่น microgear.publish()
งานครั้งนี้เป็นการทดลองการส่งข้อความแบบเจาะจงผู้รับคือการ chat
คุณสมบัติของการ Chat คือการส่งข้อความโดยระบุผู้รับมีลักษณะดังนี้
1. เมื่อผู้รับออนไลน์อยู่แล้วผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับจะได้รับข้อความนั้น
2. เมื่อผู้รับออฟไลน์ (ออกจากระบบ)ผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับจะไม่ได้รับข้อความนั้น
3. เมื่อผู้รับออนไลน์และใช้ชื่อเดียวกัน ผู้ส่งได้ส่งข้อความไปหาผู้รับโดยระบุชื่อผู้รับ ผู้รับที่ชื่อเดียวกันจะได้รับข้อความนั้น
คำเตือน: ความถี่ในการส่งข้อความขึ้น NETPIE กำหนดส่งได้ไม่เกิน 4 ครั้งใน 1 วินาที หากผู้ใช้งานส่งเกินข้อความครั้งที่ส่งเกิน NETPIE จะไม่รับข้อความที่เกินนั้น ๆ (เรียกว่าติดลิมิต)
คอนเซ็ปต์หลักของงาน
บอร์ดรับข้อความจาก FreeBoard NETPIE มาควบคุมการติดดับของ LED และให้บอร์ดส่งสถานะของ LED ไปแสดงบน FreeBoard
[ขั้นตอนการดำเนินการ]
-สร้าง Application ID
-สร้าง Device Key สำหรับใช้กับบอร์ดทดลอง
-สร้าง Session Key สำหรับใช้กับ FreeBoard
-เขียนโค้ดเพื่อใช้งาน
-ออกแบบ FreeBoard
ซึ่งรายละเอียดเป็นดังนี้
วงจรที่ใช้ทดลอง ทั้งที่เป็นบอร์ด NodeMCU และ WeMOS D1 mini ที่ใช้งานเชื่อมต่อเดิมในงานนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น
ส่วนของการดำเนินการ NETPIE
1. เริ่มต้นการใช้งานโดยเข้าไปที่ https://netpie.io/ (หากยังไม่สมัครให้ดำเนินการ)
(1) ล็อกอิน
(2) คลิกที่ APPLICATIONS
2. คลิกสร้าง Application คลิกที่ตำแหน่งดังรูป
3. ใส่รายละเอียดของ Application
(1) ตั้งชื่อ Application (ชื่อที่ไม่ซ้ำกับใคร ๆ)
(2) คลิก CREATE
4. สร้าง Application Key คลิกที่ตำแหน่งดังรูป
5. สร้าง Application Key (Device Key)
(1) ตั้งชื่อ
(2) เลือกชนิด (เลือกเป็น Device Key)
(3) คลิก CREATE
6. สร้าง Application Key (Session Key)
(1) ตั้งชื่อ
(2) เลือกชนิด (เลือกเป็น Session Key)
(3) คลิก CREATE
7. คลิกที่ชื่อ Application Device
8. คลิกที่ (1) เพื่อดูรหัส นำรหัสที่ปรากฏไปใช้ในโค้ดโปรแกรม
ส่วนจัดการโค้ด
9. ติดตั้งไลบรารี่ใช้งาน NETPIE ดำเนินการดังรูป
10. พิมพ์ในช่องค้นหาว่า microgear
11. แก้ไขรายละเอียดของโปรแกรม
(1) นำค่าจากขั้นตอน 3,8 มาใส่ในโค้ด
(2) กำหนดชื่อของบอร์ด
(3) กำหนดชื่อเป้าหมายที่ต้องการสื่อสาร
โค้ดโปรแกรม
โค๊ด: [Select]
#include <ESP8266WiFi.h>
#include <MicroGear.h>
const char* ssid= "wifi_name";
const char* password = "wifi_password";
#define APPID "Application_ID"
#define KEY "Application_ KEY"
#define SECRET "Application_SECRET"
#define ALIAS "Board_name"
#define TARGET "Target_name"
#define LED D1
WiFiClient client;
int timer = 0;
MicroGear microgear(client);
void onMsghandler(char* topic, uint8_t* msg, unsigned int msglen){
Serial.print("Incoming message --> ");
Serial.print(topic);
Serial.print(" : ");
char strState[msglen];
for(int i= 0; i< msglen; i++){
strState[i]=(char)msg[i];
Serial.print((char)msg[i]);
}
Serial.println();
String stateStr = String(strState).substring(0, msglen);
if(stateStr == "CH1ON")
{
digitalWrite(LED,HIGH);
Serial.println("ON LED");
}
else if(stateStr == "CH1OFF")
{
digitalWrite(LED,LOW);
Serial.println("OFF LED");
}
}
void onFoundgear(char* attribute, uint8_t* msg, unsigned int msglen){
Serial.print("Found new member --> ");
for(int i=0; i<msglen; i++)
Serial.print((char)msg[i]);
Serial.println();
}
void onLostgear(char* attribute, uint8_t* msg, unsigned int msglen){
Serial.print("Lost member --> ");
for(int i=0; i<msglen; i++)
Serial.print((char)msg[i]);
Serial.println();
}
/*When a microgear is connected, dothis*/
void onConnected(char* attribute, uint8_t* msg, unsigned int msglen){
Serial.println("Connected to NETPIE...");
/* Set the alias of this microgearALIAS */
microgear.setAlias(ALIAS);
}
void setup()
{
microgear.on(MESSAGE,onMsghandler);
microgear.on(PRESENT,onFoundgear);
microgear.on(ABSENT,onLostgear);
microgear.on(CONNECTED,onConnected);
Serial.begin(115200);
Serial.println("Starting...");
pinMode(LED,OUTPUT);
digitalWrite(LED,LOW);
if(WiFi.begin(ssid, password))
{
while(WiFi.status() != WL_CONNECTED)
{
delay(500);
Serial.print(".");
}
}
Serial.println("WiFiconnected");
microgear.init(KEY,SECRET,ALIAS);
microgear.connect(APPID);
}
void loop()
{
if(microgear.connected()){
microgear.loop();
bool led = digitalRead(LED);
String status_LED;
if(led == HIGH){
status_LED="CH1ON,";
}
else{
status_LED="CH1OFF,";
}
String data2freeboard = status_LED ;
microgear.chat(TARGET,data2freeboard);
Serial.print("Send message to NetPie: ");
Serial.println(data2freeboard);
}
else{
Serial.println("connection lost, reconnect...");
if(timer >= 5000){
microgear.connect(APPID);
timer=0;
}
else timer += 100;
}
delay(1000);
}
12. คลิกเลือก FREEBOARDS ดังรูป
13. คลิกสร้าง FreeBoard ดังรูป
12. ตั้งชื่อ FreeBoard (ชื่อต้องไม่ซ้ำใคร)
13. คลิกที่ชื่อ FreeBoard
14. คลิกที่รูปประแจ
15. คลิก ADD (Data Source)
16. เลือก NETPIE Microgear
17. เปิดหน้า Application ทำการคลิกที่ Session key เพื่อดูรหัส
18. ใส่รายละเอียด
(1) ตั้งชื่อ Data Source
(2) ใส่ Key ต่าง ๆ จากข้อ 17
สร้างปุ่มกดเปิด/ปิดแบบ Toggle
19. เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อตัวเลขเวลาจะเดิน ทำการคลิก ADD PANE
20. คลิกที่รูปบวก
21. เลือก Toggle
22. คลิกที่ Data Source จะปรากฏรายการชื่อให้เลือกชื่อที่ตรงกับ Data Source ที่ใช้งานปัจจุบันหน้านี้
23. คลิกต่อ ให้สังเกตุรายการ Target ที่ปรากฏ โดยชื่อ Target จะขึ้นได้เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อแล้ว(ตัวเลขนาฬิกาเดิน) แล้วคลิกที่ JS EDITOR
24. เพื่อคำสั่งตัดคำเพื่อตรวจสอบต่อท้ายเป็น .split(",")[0]=='CH1ON' เนื่องจากบอร์ดส่งข้อความนี้ขึ้นมาเมื่อ LED ติดสว่าง
CH1ON คือข้อความที่บอร์ดส่งขึ้นมายัง NETPIE ซึ่งผู้ใช้งานสามารถใช้ข้อความอื่นได้ตามต้องการ
25. รายละเอียดที่มาของค่าต่าง ๆ
26. ใส่คำสั่งเมื่อสวิตช์อยู่ในสถานะ ON และ OFF โดย DataSource ที่ชื่อว่า FreeBoard1 ส่งข้อความว่า CH1ON ไปยัง Board1 รูปแบบ
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1ON")
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1OFF")
CH1ON,CH1OFF เป็นข้อความที่ FreeBoard ส่งไปยังบอร์ดโดยที่ตัวบอร์ดต้องเขียนโค้ดตรวจสอบคำนี้เพื่อใช้ควบคุมงาน ผู้ใช้งานสามารถใช้ข้อความอื่น ๆ ได้ตามความต้องการ
27. รายละเอียดของปุ่ม ON
28. ผลจะได้ ลองทดสอบโดยการคลิก สังเกตผลที่เกิดขึ้นที่บอร์ด
29. เมื่อคลิก OFF
สร้างหลอดแสดงผล
30. คลิกตามลำดับ
31. เลือกดังรูป
32. คลิกที่ Data Source จะปรากฏรายการชื่อให้เลือกชื่อที่ตรงกับ Data Source ที่ใช้งานปัจจุบันหน้าน
33. คลิกต่อ ให้สังเกตุรายการ Target ที่ปรากฏ โดยชื่อ Target จะขึ้นได้เมื่อบอร์ดเชื่อมต่อแล้ว(ตัวเลขนาฬิกาเดิน)
34. คลิกที่ JS EDITOR
35. เพื่อคำสั่งตัดคำเพื่อตรวจสอบต่อท้ายเป็น .split(",")[0]=='CH1ON' เนื่องจากบอร์ดส่งข้อความนี้ขึ้นมาเมื่อ LED ติดสว่าง
36. ผลจะได้ ลองทดสอบโดยการคลิกสวิตช์สังเกตผลที่เกิดขึ้นที่บอร์ดและที่หลอดไฟที่สร้างขึ้น
สร้างสวิตช์กด
37. คลิก ADD PANE
38. เลือก Button
39. ใส่รายละเอียด สวิตช์ ON
(1) ข้อความแสดงบนตัวสวิตช์
(2) เลือกสี
(3) ใส่คำสั่งเมื่อปุ่มถูกกด
microgear["FreeBoard1"].chat("Board1","CH1ON")
40. เฟิ่มสวิตช์
41. ใส่รายละเอียดเช่นเดียวกับข้อ 39 เพียงแต่เป็นสวิตช์ OFF
42. เมื่อสร้างเสร็จ
43. ทดสอบการทำงาน พร้อมดูผลที่บอร์ด
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น